เดิมเป็นเพียงแผนกวิชาเทคโนโลยีการเชื่อมสังกัดอยู่ในภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล ต่อมาได้จัดตั้งเป็นโครงการภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม ในปี พ.ศ.2548 และได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2549  เพื่อเปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม และหลักสูตรอุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการเชื่อม โดยมีรูปแบบการศึกษามุ่งเน้นทางการเสริมสร้างขีดความสามารถในด้านกระบวนการเชื่อม เทคโนโลยีด้านการเชื่อม เครื่องมือ  การตรวจสอบงานเชื่อม และควบคุมคุณภาพควบคู่ไปกับคุณธรรม  เดิมภาควิชาเปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีละ 4 ห้อง ห้องเรียนละ 30 คน  โดยมีการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในหลักการของเป็นวิทยากรอย่างมืออาชีพ
  • เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพของการเป็นวิทยากรให้เป็นที่น่าเชื่อถือ
  • เพื่อพัฒนาทักษะและเทคนิคในการนำเสนอให้น่าสนใจ
  • สามารถประยุกต์ใช้หลักการ และทักษะการเป็นวิทยากรเพื่อถ่ายทอดความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิทยากร :

คุณดุจดาว ดวงเด่น

ผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อาทิ HR Scorecard ,Competency , Knowledge Management Assessment Professional Trainer , การสร้างสัมพันธภาพในงาน, Smarter Meeting , Daily Management for Supervisor in Industrial Sector, Productive Supervisor ให้กับองค์กรชั้นนำ

คุณธนกฤต กาลเศรณี

อุปนายกฝ่ายวิชาการและกิจกรรมพิเศษ และกรรมการบริหาร สมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ​วิทยากรบรรยายหลักสูตรการถ่ายภาพเชิงปฏิบัติการ และพัฒนาบุคลากร เป็นต้น

ศิลปินนักถ่ายภาพไทยสมาพันธ์สมาคมการถ่ายภาพ แห่งประเทศไทย พร้อมเกียรตินิยมทางการถ่ายภาพ Hon.F.BPS , A.BPS , E.BPS

เหมาะสำหรับ

  • Officer
  • Supervisor
  • Manager

ค่าธรรมเนียม

ท่านละ (ก่อน VAT 7%)
20,000 บาท
สมาชิกลด 5%
ท่านละ (รวม VAT 7%)
21,400 บาท
สมาชิกลด 5%

ระยะเวลา: 3 วัน

รุ่น 1 วันที่ 22-24 มีนาคม 2565

รุ่น 2 วันที่ 19-21 กรกฎาคม 2565

รุ่น 3 วันที่ 22-24 พฤศจิกายน 2565

หัวข้อ

Day 1

  • ความสำคัญของการฝึกอบรมและวิทยากร

  • บุคลิกภาพของวิทยากร

  • เทคนิคการจัดทำ Slide ให้น่าสนใจ

  • Workshop: ฝึกปฏิบัติทำ Slide

  • การวางแผนการฝึกอบรม

  • Workshop: ฝึกปฏิบัติการวางแผนการสอน

Day 2

  • ฝึกปฏิบัติการ
  • เตรียมเรื่องที่ผู้เข้ารับการอบรมมีความเชี่ยวชาญที่สุด
  • จัดทำเนื้อหาเป็น Slide ประมาณ 10-15 Slide ระยะเวลานำเสนอประมาณ 10 นาที/คน

Day 3

  • ฝึกปฏิบัติการนำเกมเพื่อการเรียนรู้ และฝึกอบรม
  • สรุปผลการฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร
  • สรุป และถามตอบ

วิทยากร

คุณดุจดาว ดวงเด่น
ผู้เชี่ยวชาญ ส่วนบริหารการผลิต ฝ่ายปรึกษาแนะนำ

ผู้เชี่ยวชาญ ส่วนบริหารการผลิต ฝ่ายปรึกษาแนะนำ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ประสบการณ์การเป็นวิทยากร ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล อาทิ HR Scorecard ,COMPETENCY , Knowledge Management Assessment
Professional Trainer , การสร้างสัมพันธภาพในงาน, Smarter Meeting , Daily Management for Supervisor in Industrial Sector, Productive Supervisor ให้กับองค์กรชั้นนำ

ธนกฤต กาลเศรณี
ประสบการณ์ อุปนายกฝ่ายวิชาการและกิจกรรมพิเศษ และกรรมการบริหาร

สมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ
วิทยากรบรรยายหลักสูตรการถ่ายภาพเชิงปฏิบัติการ และพัฒนาบุคลากร เป็นต้น